UTM ขนาด 30ตัน
เครื่องทดสอบวัสดุแบบอเนกประสงค์
ขนาดความต้านทานแรง ๓๐ ตัน ( Universal Testing Machine ๓๐T)
๑. รายละเอียดทั่วไป
       ๑.๑ เป็นเครื่องทดสอบวัสดุอเนกประสงค์
ขนาดไม่ต่ำกว่า ๓๐ ตัน จำนวน ๑ เครื่อง มีคุณลักษณะดังนี้
๑.๑.๑
  เป็นเครื่องทดสอบอเนกประสงค์ไม่ต่ำกว่า ๓๐ ตัน
๑.๑.๒  เครื่องทดสอบวัสดุควบคุมระบบส่งกำลังด้วยไฮดรอลิค  Hydraulic System โดยกระบอกสูบ
Hydraulic มีช่วงชักไม่ น้อยกว่า  ๒๐๐ มิลลิเมตร
๑.๑.๓
 มีมอเตอร์ขับเคลื่อนติดที่คานทดสอบตัวล่างเพื่อปรับระยะการทำงาน
๑.๑.๔
 โครงสร้างตัวเครื่องมี  ๔  เสา
โดยมีเสา  ๒ เสาแรกทำจากเหล็กกล้า  และอีก 
๒  เสาเป็นเกลียวปรับระยะการ
         เคลื่อนที่ของคานทดสอบ (Crosshead) ได้
๑.๑.๕
 มีค่าความละเอียดในการวัด  (Measurement  rang of accuracy)  ๒% -๑๐๐%
และมีค่าความเที่ยงตรง  +๐.๕%
        (Precision of  deformation measurement) หรือดีกว่าตลอดช่วงการใช้งาน
๑.๑.๖
  มีสกรูสำหรับไขล็อคปากจับชิ้นงานทั้งด้านบนและล่างของคานทดสอบ
๑.๑.๗  มีฐานที่ทำด้วยเหล็กกล้า (Cast
Steel) คุณภาพสูง หรือวัสดุที่แข็งแรงกว่า
๑.๑.๘
 มีชุดควบคุมการทำงานและแสดงผลทำงานด้วยระบบอัตโนมัติและ
Manual
๑.๑.๙
 มีชุดโปรแกรมสำเร็จรูปและการ์ดที่ใช้ในการควบคุมการทำงานและประมวลผลการทดสอบที่สามารถทำงาน
         ร่วมกับระบบปฏิบัติการ WindowXP
หรือดีกว่าได้
๑.๑.๑๐
มีโปรแกรมประมวลผลพร้อมการ์ดควบคุมการทดสอบบนเครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน ๑ ชุด
โดยสามารถ
          แสดงข้อมูลของ Stress-Strain, Load-Elongation, Load-time, Stress-Time ได้
ขณะทำการทดสอบ
๑.๑.๑๑
สามารถแสดงผลของแรงระยะยืด และผลของเส้นโค้งออกมาเป็นกราฟฟิก
โดยต่อกับระบบคอมพิวเตอร์และ
          แสดงผลการทดสอบ
๑.๑.๑๒
สามารถเลือกหน่วยทดสอบได้
๑.๑.๑๓
 มีระบบป้องกันการเกิดอันตรายกับโหลดเซล (Load
Cell) และระบบคอมพิวเตอร์
๑.๑.๑๔ 
เครื่องจะหยุดการทำงานอย่างอัตโนมัติในทันทีหากชิ้นทดสอบขาดหรือเกิดความเสียหาย
๑.๑.๑๕
 มีกล่องควบคุมที่มีหน้าจอแสดงผลซึ่งอ่านค่าแรงและระยะยืดเป็นแบบดิจิตอล
๑.๑.๑๖  กล่องควบคุมสามารถแสดงสถานการณ์ทำงานระหว่างการทดสอบได้ไม่น้อยกว่า ๒ แบบคือ Run และ  Stop
๒. รายละเอียดทางเทคนิค
๒.๑         สำหรับการทดสอบสมบัติการทนแรงดึง-แรงกด  มีคุณลักษณะดังนี้
                                ๒.๑.๑     โครงสร้างตัวเครื่องมี ๔ เสา โดยมี ๒
เสาแรกทำจากเหล็กกล้า  และอีก ๒
เสาเป็นเกลียวปรับ
ระยะการเคลื่อนที่ของคานทดสอบ  (Crosshead) ได้
                                ๒.๑.๒    ทดสอบความต้านแรงดึง-แรงกด โดยมีคุณสมบัติของเครื่อง Class ๐.๕ ตามมาตรฐาน ISO๗๕๐๐-๑
ประมวลผลการทดสอบโดยสามารถแยกเป็น
๒ ระบบคำสั่งคือจากชุดคอมพิวเตอร์และจากหน้าจอ LCD ระบบสัมผัสได้ โดยสามารถสั่งทดสอบได้จากทั้ง ๒ ระบบ (ในกรณีที่ระบบสั่งงาน
ระบบหนึ่งระบบใดชำรุด  ยังสามารถใช้งานอีกระบบได้อย่างดี)
พร้อมแนบใบรายงานผลการสอบเทียบ Class ๐.๕ มาประกอบการพิจารณา  (โดยหน่วยงานราชการในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน
ISO/IEC ๑๗๐๒๕)
                                ๒.๑.๓   สามารถให้แรงกด
แรงดึงได้ไม่น้อยกว่า ๓๐,๐๐๐ กิโลกรัมแรง
(๓๐๐kN)
                                ๒.๑.๔   เครื่องทดสอบควบคุมระบบส่งกำลังด้วยไฮดรอลิกค์  (HydraulicSystem) โดยมีเซอร์โวมอเตอร์
                                             
เป็นตัวควบคุมระบบการไหลของน้ำมันไฮดรอลิกค์
                                ๒.๑.๕   ระยะสูงสุดการทดสอบแรงดึง
(Tension Test Space) ไม่น้อยกว่า  ๕๕๐ มิลลิเมตร
                                ๒.๑.๖
  ปากจับชิ้นงานทดสอบบนและล่างเป็นแบบไฮโดรลิค
 (Hydraulic Grips)
โดยปากจับชิ้นงานแยกออกจาก
ตัวเครื่องแต่ต้องเป็นชิ้นเดียวกับคานทดสอบของเครื่องทดสอบ
และจับชิ้น ทดสอบหน้าตัดกลมได้ไม่น้อยกว่า ๒๕ มิลลิเมตร และจับชิ้นทดสอบหน้าตัดแบบสี่เหลี่ยม
หนาไม่น้อยกว่า ๑๔ มิลลิเมตร
                                ๒.๑.๗   ระยะสูงสุดการทดสอบแรงกด (Compression Test Space)
ไม่น้อยกว่า  ๔๕๐ มิลลิเมตร
                                ๒.๑.๘
  ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางแผ่นรองไม่น้อยกว่า  ๑๕๐ มิลลิเมตร
                                ๒.๑.๙   ความเร็วการเคลื่อนที่ของคานทดสอบ
(Crosshead)
ไม่น้อยกว่า  ๑๐๐ มิลลิเมตร/นาที
                                ๒.๑.๑๐
ความเร็วการเคลื่อนที่สำหรับการทดสอบ  ๑-๕๐
มิลลิเมตร/นาที หรือดีกว่า
                                ๒.๑.๑๑
ระยะดึง -  กด สูงสุด (Max Position Stroke )
ไม่น้อยกว่า ๒๐๐ มิลลิเมตร
                                ๒.๑.๑๒
วัดระยะการเคลื่อนที่ด้วย Rotary encoder อ่านระยะได้ละเอียด 
๐.๐๐๑  มิลลิเมตรหรือดีกว่า
                                ๒.๑.๑๓
วัดค่าแรงทดสอบได้ทั้งอุปกรณ์วัดค่าแรงดันแบบทรานสดิวเซอร์ (Pressure transducer) มีค่าความ
                              
                เที่ยงตรงของการวัดแรง  ± ๐.๕%  Full
Scale
                                ๒.๑.๑๔
มีระยะห่างระหว่างเสาไม่น้อยกว่า  ๔๕๐  มิลลิเมตร โดยวัดจากเซ็นเตอร์ของเสา
                                ๒.๑.๑๕  ระบบความปลอดภัย มีระบบ  Over-Stroke
Limit  เพื่อป้องกันการเคลื่อนที่เกินค่าที่กำหนดไว้
และมีปุ่มหยุดฉุกเฉิน (Emergency
Stop switch)
๒.๑.๑๖ 
มีหน้าจอแบบแสดงผลแบบสัมผัสขนาดไม่น้อยกว่า  ๗ 
นิ้ว  ติดตั้งอยู่บนตู้ควบคุมและสามารถ
                             
               สั่งงานและแสดงผลได้ ดังนี้
                                                -สามารถแสดงค่า  แรงดึงและแรงกดแบบ Real time ได้
                                                -สามารถแสดงค่าความยืดของชิ้นงานแบบ Real time ได้   
-สามารถแสดงค่า 
แรงดึงและแรงกดสูงสุดได้
                                                -สามารถเปลี่ยนหน่วยเป็น
SI,Matric,English
ได้
                                                -สามารถสั่งเริ่มการทดสอบผ่านบนหน้าจอสัมผัสได้
                                                -สามารถกำหนดความเร็วในการทดสอบผ่านหน้าจอสัมผัสได้
                                                -สามารถสั่ง
Return ผ่านหน้าจอสัมผัสได้
                                ๒.๒     โปรแกรมสำหรับควบคุมการทำงานในการทดสอบแรงดึง
– แรงกดแบบชุดคอมพิวเตอร์
มีรายละเอียดดังนี้
                                ๒.๒.๑   สามารถเลือกหน่วยในการแสดงค่าได้ทั้ง
๓ ระบบ คือ เอส,ไอ,เมตริก,และอังกฤษ
                                ๒.๒.๒  สามารถกำหนดโปรแกรมการทดสอบด้วยคอมพิวเตอร์
บันทึกและเรียกใช้ผ่าน Software
                                 ๒.๒.๓   สามารถสั่งงานผ่านบนหน้าจอคอมพิวเตอร์และบนหน้าจอสัมผัสบนเครื่องทดสอบ
                                ๒.๒.๔  สามารถบันทึกและเรียกดูผลการทดสอบบนคอมพิวเตอร์ได้
                                ๒.๒.๕  สามารถกำหนดการบันทึกผลการทดสอบแบบอัตโนมัติหรือบันทึกด้วยผู้ใช้งานเอง
                                ๒.๒.๖  สามารถพิมพ์รายงานผลการทดสอบจากโปรแกรมการทดสอบโดยตรง
                                ๒.๒.๗  สามารถนำข้อมูลประยุกต์ใช้ร่วมกับโปรแกรม Microsoft Excel และ PDF หรือโปรแกรมอื่นๆที่
                              
วิเคราะห์ข้อมูลได้
                                ๒.๒.๘ 
มีโปรแกรมสำหรับทดสอบแรงดึง (Tension test)
                                ๒.๒.๙   มีโปรแกรมสำหรับทดสอบแรงกด (Compression test)
                                  ๒.๒.๑๐ มีโปรแกรมสำหรับการทดสอบการดัดแบบโค้งแบบ
๓ จุด (Three point bending
flexural test)
                                 ๒.๒.๑๑ มีโปรแกรมสำหรับการทดสอบการดัดแบบโค้งแบบ
๔ จุด (Four point bending flexural test) 
                                 ๒.๒.๑๒ มีโปรแกรมสำหรับสามารถทดสอบแรงเฉือน (Shear test)
                                 ๒.๒.๑๓ สามารถวิเคราะห์ผลเบื้องต้นทางสถิติได้
                                ๒.๒.๑๔
สามารถแสดงกราฟแบบสเกลอัตโนมัติได้ทั้งบนหน้าจอคอมพิวเตอร์และบนหน้าจอสัมผัสบน
เครื่องทดสอบ (Auto range)  และอย่างน้อยต้องแสดงกราฟของความสัมพันธ์ระหว่าง
Stress-Strain,Load
                              
- Stoke,
Stroke -Time, Load-Time
๒.๒.๑๕
โปรแกรมทดสอบและประมวลผลไม่กำหนดอายุการใช้งาน ในกรณีที่มีการพัฒนาโปรแกรมทดสอบและประมวลผล
ผู้ขายจะดำเนินการติดตั้งให้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
๒.๒.๑๖
สามารถรีโมท On-line  เข้ามาที่โปรแกรมการทดสอบเพื่อแก้ไขโปรแกรม ควบคุม สั่งงานได้
                                ๒.๒.๑๗ สามารถกำหนดรหัสผ่านในการเข้าใช้งานโปรแกรมได้
เพื่อป้องกันการแก้ไขค่าการสอบเทียบ
                                ๒.๒.๑๘ สามารถแบ่งช่วงการวัดแรงได้ไม่น้อยกว่า ๔ ช่วงวัดแรง
                                ๒.๒.๑๙ โปรแกรมการทดสอบสามารถเลือกเปลี่ยนเมนูการใช้งานให้เป็นรูปแบบภาษาไทยและ
                ภาษาอังกฤษได้ตลอดการใช้งานพร้อมแสดงแคตตาล็อกในวันยื่นเอกสาร
                                 ๒.๒.๒๐ สามารถออกแบบและพิมพ์รายงานผ